รายชื่อมหาเทพ

ศาสนาพราหมณ์ เป็นศาสนาที่ยอมรับนับถือว่ามีเทพเจ้าเป็นใหญ่ (ศาสนาเทวนิยม) โดยมีเทพสูงสุด ๓ องค์ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะและมีเทพอื่นๆอีกหลายองค์ เช่น พระอัคนี , พระวายุ, พระอินทร์ ฯลฯ

ในพระคัมภีร์ปุราณะอันเป็นคัมภีร์หลักใหญ่ใจความสำคัญของศาสนาพราหมณ์ ได้กล่าวถึงเทพที่สำคัญ ๆ (มหาเทพ)ไว้ถึง ๘ องค์ด้วยกัน คือ
๑. พระพรหม
๒. พระวิษณุ (พระนารายณ์)
๓. พระศิวะ (พระอิศวร)
๔. พระสุรัสวดี (สรัสวติ, สรสวติ) ชายาของพระพรหม
๕. พระลักษมี ชายาของพระวิษณุ
๖, พระอุมา (พระนางปาราวตี) ชายาของพระศิวะ
๗. พระคเนศ (พระพิฆเนศวร) พระโอรสของพระศิวะกับพระนางอุมา
๘. พระขันธกุมาร พระโอรสของพระศิวะกับพระนางอุมา

นี้ไง ? ความสำเร็จ

นี้ไง ? ความสำเร็จ
เสร็จแล้วคับนิทรรศการของพวกเราปี 3 คณะครุศาสตร์ คับ

1...2....3.....

1...2....3.....
มาถ่ายรูปกัน

วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

บทที่ 6


บทที่ 6

เทคนิคการจัดนิทรรศการ

การจัดแผ่นป้าย
แผ่นป้าย (board) หมายถึง แผ่นหนังสือหรือแผ่นเครื่องหมายที่บอกให้รู้
เป็นวัสดุรองรับสื่อหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่นำมาจัดแสดงซึ่งมีหลายรูปแบบหลายลักษณะ
แตกต่างกัน มีทั้งรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง สี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวนอนซึ่งแตกต่างกันออกไปแล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้จัด

1. ประเภทของแผ่นป้าย
แผ่นป้ายมีหลายประเภททั้งนี้ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ต่างๆที่ใช้ในการพิจารณาเช่นการจำแนก
ตามวัสดุที่ใช้ทำ การจำแนกตามลักษณะการติดตั้ง การจำแนกตามลักษณะการใช้งาน
และการจำแนกตามลักษณะการจัดแสดง
1.1 การจำแนกตามวัสดุที่ใช้ทำ ได้แก่ ไม้ พลาสติก โลหะ
1.2 การจำแนกตามลักษณะการติดตั้ง การจำแนกตามลักษณะการติดตั้ง ได้แก่
ป้ายที่เคลื่อนที่ได้ และป้ายที่เคลื่อนที่ไม่ได้
1.3 การจำแนกตามลักษณะการใช้งาน การจำแนกตามลักษณะการใช้งาน
ได้แก่ แบบสำเร็จรูป และแบบถอดประกอบ
1.4 การจำแนกตามลักษณะการจัดแสดง การจำแนกตามลักษณะการจัดแสดง
ได้แก่ แบบตั้งแสดง แบบแขวน แบบติดฝาผนัง

2. เทคนิคการจัดแผ่นป้าย
การจัดวางแผ่นป้ายทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเนื้อหา
ทำเลที่ตั้งแสดง บริเวณและรูปแบบของแผ่นป้าย
2.1 แผ่นป้ายยึดติดกับขาตั้งอย่างถาวร
2.2 แผ่นป้ายอิสระ
2.3 แผ่นป้ายสามเหลี่ยมรูปตัวเอ
2.4 แผ่นป้ายแบบแขวน
2.5 แผ่นป้ายแบบโค้งงอรูปตัวเอส (S)
2.6 แผ่นป้ายแบบกำแพง
2.7 แผ่นป้ายสำหรับจัดร้านขายสินค้า
2.8 แผ่นป้ายตั้งแสดง
2.9 แผ่นป้ายผืนธง


การจัดป้ายนิเทศ
ป้ายนิเทศ (bulletin board) เป็นสื่ออย่างหนึ่งที่มีการกล่าวถึงกันมาก
ทั้งในวงการศึกษา วงการธุรกิจ วงการเมือง
กล่าวโดยสรุปว่าป้ายนิเทศเป็นสื่อทัศนวัสดุประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะ คือเป็นแผ่นป้ายที่ทำหน้าที่เสนอเนื้อหาเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้ผู้ชม
ได้เรียนรู้ตามความเหมาะสมรูปแบบของป้ายนิเทศอาจเป็นป้ายสำเร็จรูปที่มีเนื้อหา
เขียนหรือพิมพ์ติดอยู่กับแผ่นป้ายโดยตรงสามารถนำไปจัดแสดงได้ทันที่ หรืออาจเป็นแผ่นป้ายว่างเปล่าเพื่อเป็นพื้นรองรับการติดตั้งเนื้อหาความรู้จากสื่อทัศนวัสดุอื่น เช่น รูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติโปสเตอร์ บางครั้งแผ่นป้ายว่างเปล่าอาจถูกนำไปใช้เป็นป้ายประกาศ
ป้ายโฆษณา หรือป้ายประชาสัมพันธ์ก็ได้

1. คุณค่าของป้ายนิเทศ
ป้ายนิเทศเป็นสื่อที่มีคุณค่าหลายประการ เช่น เป็นสื่อเร้าความสนใจผู้ชมโดยใช้รูปภาพ
ข้อความ และสัญลักษณ์ที่สวยงามและมีความหมายต่อผู้ชม

2. หลักการและเทคนิคการจัดป้ายนิเทศ
การจัดป้ายนิเทศที่ดีมีเทคนิคและหลักการดังนี้
2.1 หลักการจัดป้ายนิเทศ
-การกระตุ้นความสนใจ
-การมีส่วนร่วม
-การตรึงความสนใจ
-ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
-การเน้น
-การใช้สี
2.2 เทคนิคการจัดป้ายนิเทศ การจัดป้ายนิเทศที่ดีมีคุณค่าในการสื่อความหมาย
ควรมีองค์ประกอบต่าง ๆ และเทคนิคดังต่อไปนี้
-ชื่อเรื่อง
-ข้อความเชิญชวนหรือคำอธิบาย
-การสร้างมิติเพื่อการรับรู้
-การใช้สี แสง เงา และบริเวณว่าง
-การเคลื่อนไหว
-การใช้รูปภาพ
-การจัดองค์ประกอบ
-การตกแต่งพื้นป้ายนิเทศ
-การจัดป้ายนิเทศร่วมกับสื่ออื่น
-การใช้เนื้อหาหรือกิจกรรมเป็นตัวกำหนด


3. การจัดป้ายนิเทศให้สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์
การจัดป้ายนิเทศให้ประสบผลสำเร็จได้ดีต้องให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ดังนี้
3.1 การจัดภาพบนหน้าต่างหรือแบบวินโดว์
3.2 การจัดภาพแบบละครสัตว์ การจัดภาพแบบละครสัตว์ (circus)
3.3 การจัดภาพแบบแกน การจัดภาพแบบแกน (axial)
3.4 การจัดภาพแบบกรอบภาพ การจัดภาพแบบกรอบภาพ (frame)
3.5 การจัดภาพแบบตาราง การจัดภาพแบบตาราง (grid)
3.6 การจัดภาพแบบแถบ การจัดภาพแบบแถบ (band)
3.7 การจัดภาพแบบแกน การจัดภาพแบบแกน (path)

การกำหนดบริเวณว่างในนิทรรศการ
บริเวณว่างเป็นองค์ประกอบสำคัญในการจัดนิทรรศการ สามารถทำให้
นิทรรศการมีคุณค่าและประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ได้เป็นอย่างดีบริเวณ
ว่างจะเข้าไปเกี่ยวข้องและมีอิทธิพลต่อองค์ประกอบอื่นทำให้ผู้ชมเกิดความพึงพอ
ใจในประโยชน์ใช้สอยและความงามจากการออกแบบและการกำหนดบริเวณว่าง
ที่เหมาะสม ดังนั้นจึงควรคำนึงถึงลักษณะและการออกแบบบริเวณว่างดังนี้

1. ลักษณะของบริเวณว่าง
บริเวณว่างมี2ลักษณะได้แก่บริเวณว่างที่ใช้สอยให้เกิดประโยชน์ (positive space)
และบริเวณว่างที่นอกเหนือจากการใช้สอย (negative space)

2. การออกแบบบริเวณว่าง
บริเวณว่างเป็นพื้นที่ที่สามารถออกแบบให้เกิดประโยชน์ได้หลายวิธีดังนี้
2.1 การจัดองค์ประกอบแนวตั้ง
2.2 การจัดองค์ประกอบระนาบแนวตั้ง
2.3 การจัดองค์ประกอบระนาบแนวตั้งรูปตัวแอล(L)
2.4 การจัดองค์ประกอบระนาบแนวตั้งขนานกัน
2.5 การจัดองค์ประกอบระนาบรูปตัวยู


3. การกำหนดบริเวณว่างในเชิงจิตวิทยา
การใช้บริเวณว่างในเชิงจิตวิทยาเพื่อการเชิญชวนลูกค้าหรือผู้ชมเข้าชมและร่วมกิจกรรมควรคำนึงถึงธรรมชาติของการปฏิสัมพันธ์และการแสดงออกของผู้ชมโดยเฉพาะลูกค้าใดๆ ทุกชนิด
ระหว่างทางสัญจรภายนอกกับบริเวณภายในนิทรรศการ ควรยึดหลักสำคัญคือการหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวางใหม่หรือผู้ชมที่ยังไม่คุ้นเคยกับสินค้าผลิตภัณฑ์ใหม่การกำหนดทางเดินชมนิทรรศ
การการจัดตั้งป้ายนิเทศเป็นงานขั้นลงมือปฏิบัติในพื้นที่จริงซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยนจากแบบบ้างเพื่อให้เหมาะกับสภาพพื้นที่จริงตำแหน่งและทิศทางการติดตั้งป้ายนิเทศควรสัมพันธ์กับทางเดินดังนั้นควรเลือกมุมที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนและสะดวกในการเดินเข้าไปชมในระยะ
ใกล้ได้ต้องหลีกเลี่ยงมุมอับลึกแหลมหรือมุมแคบด้วยการจัดเสียใหม่ให้เป็นมุมป้านออก จะทำให้ผู้ชมสามารถชมได้อย่างทั่วถึง
1. การสัญจรทิศทางเดียวชมได้ด้านเดียว
2. การสัญจรทิศทางเดียวชมได้ 2 ด้าน
3. การสัญจรอย่างอิสระตามความต้องการ

บทสรุป

เนื้อหาของเทคนิคการจัดนิทรรศการกล่าวถึงการจัดวัสดุอุปกรณ์และสิ่งของต่างๆ ที่มีความสำคัญจำเป็นสำหรับการจัดนิทรรศการโดยทั่วไปได้แก่การจัดแผ่นป้าการจัดป้ายนิเทศ การกำหนดบริเวณในนิทรรศการและการกำหนดทางเดินชมนิทรรศการแผ่นป้ายมีหลายประเภท หลายรูปแบบ แต่ละแบบมีลักษณะและเทคนิคการจัดโดยเฉพาะเช่น แบบยึดติดกับขาตั้ง แบบอิสระ แบบสามเหลี่ยม แบบแขวน แบบโค้งงอแบบกำแพงแบบร้านขายสินค้าแผ่นป้ายตั้งแสดงและแผ่นป้ายผืนธง ป้ายที่ได้รับความนิยมใช้เป็นสื่อหลักที่สำคัญในการจัดแสดงหรือนิทรรศการทั่วไปได้แก่ ป้ายนิเทศ ซึ่งเน้นรายละเอียดเกี่ยวกับความหมาย คุณค่าหลักการและเทคนิคการจัด ส่วนการกำหนดบริเวณว่าง ควรคำนึงถึงลักษณะของบริเวณว่างการออกแบบบริเวณว่างโดยการจัดองค์ประกอบแบบต่างๆบริเวณว่างในเชิงจิตวิทยาตลอดจนการกำหนดทางเดินชมนิทรรศการ เช่น ชมได้ด้านเดียว ชมได้สองด้าน และการสัญจรอย่างอิสระตามความต้องการ เป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

อาจารย์และพี่คนสวย

อาจารย์และพี่คนสวย

มาทำงาน

มาทำงาน
งานไม่ทำมาถ่ายรูปดีกว่า

เอกเทคโน

เอกเทคโน
สมาชิก

เอกคณิต

เอกคณิต
สมาชิก

เอกวิทย์

เอกวิทย์

ปฐมวัย

ปฐมวัย

ดึกแล้ว

ดึกแล้ว
ดึกแล้วยังจะติดอยู่อีก